หน้าหลัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความคัดสรรเดือนนี้
มันออกเสียงว่า 'จิฟ' ไม่ใช่ 'กิฟ'
มันออกเสียงว่า 'จิฟ' ไม่ใช่ 'กิฟ'

การออกเสียงคำว่า GIF ซึ่งเป็นคำย่อของวลีภาษาอังกฤษว่า Graphics Interchange Format ('รูปแบบสับเปลี่ยนภาพกราฟิกส์') เป็นประเด็นโต้แย้งกันมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1990 ในภาษาอังกฤษนิยมออกเสียงคำย่อนี้เป็นคำพยางค์เดียวว่า กิฟ (/ɡɪf/ ( ฟังเสียง), ด้วยเสียง g หนัก; เสียง "ก") และ จิฟ (/ɪf/ ( ฟังเสียง), ด้วยเสียง g เบา; เสียง "จ") การออกเสียงทั้งสองแบบต่างกันที่หน่วยเสียงที่เขียนแทนด้วยอักษร G ที่มาของข้อถกเถียงมาจากข้อเท็จจริงว่าในภาษาอังกฤษไม่มีกฎกลางสำหรับการออกเสียงลำดับอักษร gi

บุคคลสาธารณะและสถาบันจำนวนมากได้ออกมาแสดงจุดยืนของตนในประเด็นโต้แย้งเกี่ยวกับการออกเสียงคำว่า GIF เช่น สตีฟ วิลไฮต์ ผู้คิดค้นรูปแบบไฟล์ภาพนี้ เคยกล่าวสุนทรพจน์ที่งานมอบรางวัลเวบบี 2013 โดยโต้แย้งว่าการออกเสียงอักษร G ในคำนี้เป็น g เบา (เสียง "จ") คือการออกเสียงที่ถูกต้อง ในขณะที่คนอื่น ๆ ชี้ว่าอักษร G ในคำนี้มีที่มาจากคำว่า graphics (กราฟิก) ซึ่งออกเสียงอักษร G เป็น g หนัก (เสียง "ก") จึงควรออกเสียงอักษร G ในคำนี้เป็น g หนัก ตามไปด้วย

แม้ว่าความถี่ของการออกเสียงแต่ละแบบจะแตกต่างกันไปตามภูมิภาค แต่ผลการสำรวจโดยทั่วไปแสดงให้ว่าการออกเสียงอักษร G ในคำว่า GIF เป็น g หนัก เป็นที่แพร่หลายมากกว่าในภาษาอังกฤษ ยิ่งไปกว่านั้น ผู้พูดภาษาอังกฤษบางคนยังอ่านออกเสียงคำย่อนี้แบบเรียงตัวอักษรว่า จีไอเอฟ (/ ɛf/ ( ฟังเสียง)) (อ่านต่อ...)

บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: ตา (พายุหมุน)ฟลอเรนซ์บอชช์
รู้ไหมว่า...
เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดและเพิ่งปรับปรุงของวิกิพีเดีย :
เรื่องจากข่าว
วันนี้ในอดีต

3 ตุลาคม: วันรวมชาติเยอรมัน; วันเอกราชในอิรัก (พ.ศ. 2475)

หน่วยปฏิบัติการเรนเจอร์ในยุทธการที่โมกาดิชู เป็นภาพเดียวที่เก็บได้จากการรบภาคพื้นดิน
หน่วยปฏิบัติการเรนเจอร์ในยุทธการที่โมกาดิชู เป็นภาพเดียวที่เก็บได้จากการรบภาคพื้นดิน

ดูเพิ่ม: 2 ตุลาคม3 ตุลาคม4 ตุลาคม

สารานุกรม

ป้ายบอกทาง

  • ศาลาประชาคม – กระดานข่าว โครงการ ทรัพยากรและกิจกรรมซึ่งครอบคลุมวิกิพีเดียอย่างกว้างขวาง
  • แผนกช่วยเหลือ – ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดีย
  • ปุจฉา-วิสัชนา – ถามข้อสงสัยทั่วไปที่คุณอยากรู้
  • ข่าวไซต์ – ประกาศ อัพเดต บทความและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย
  • สภากาแฟ – สำหรับอภิปรายเกี่ยวกับวิกิพีเดีย รวมถึงรายงานปัญหาเทคนิคและเสนอนโยบาย
  • Local Embassy – For Wikipedia-related discussion in languages other than Thai.

ภาษาอื่น

นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีกทั้งหมด 324 ภาษา โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่แสดงรายการด้านล่างนี้