ประเทศแอลจีเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย
الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية (อาหรับ)
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
คำขวัญمن الشعب و للشعب
("การปฏิวัติโดยประชาชนและเพื่อประชาชน")
เพลงชาติKassaman ("คำสาบาน")

เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
แอลเจียร์
36°42′N 3°13′E / 36.700°N 3.217°E / 36.700; 3.217
ภาษาราชการ ภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์
ภาษาที่สอง ภาษาฝรั่งเศส 1
การปกครอง รัฐเดี่ยว ระบบกึ่งประธานาธิบดี สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
•  ประธานาธิบดี Abdelmadjid Tebboune
•  นายกรัฐมนตรี Abdelaziz Djerad
เอกราช
•  จาก ฝรั่งเศส 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 
พื้นที่
•  รวม 2,381,741 ตร.กม. (10)
919,595 ตร.ไมล์ 
•  แหล่งน้ำ (%) น้อยมาก
ประชากร
•  2548 (ประเมิน) 32,854,000 (37)
•  2541 (สำมะโน) 29,100,867 
•  ความหนาแน่น 14 คน/ตร.กม. (196)
36 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
•  รวม $ 629.265 พันล้าน 
•  ต่อหัว $ 15,149 
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
•  รวม $ 175.493 พันล้าน 
•  ต่อหัว $ 4,225 
จีนี (2554) 27.6[1] 
HDI (2559) Increase 0.745 (สูง) (83rd)
สกุลเงิน ดีนาร์แอลจีเรีย (DZD)
เขตเวลา CET (UTC+1)
 •  ฤดูร้อน (DST) CET (UTC+1)
โดเมนบนสุด .dz
รหัสโทรศัพท์ 213
1 ภาษาฝรั่งเศสใช้ในวงการธุรกิจ ส่วนภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาประจำชาติ

แอลจีเรีย (อังกฤษ: Algeria; อาหรับ: الجزائر‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (อังกฤษ: People's Democratic Republic of Algeria; อาหรับ: الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية‎) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา

ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2068

ในปี​ ​พ.ศ.​2562​ ​เกิดการประท้วงประธานาธิบดี​วัย82ปี​ ครั้งใหญ่มีผู้เสียชีวิตหนึ่งรายจากโรคหัวใจล้มเหลว

ภูมิศาสตร์[แก้]

สภาพอากาศ[แก้]

สภาพนิเวศวิทยา[แก้]

ประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคก่อนประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคกลาง[แก้]

กลุ่มชนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานกลุ่มแรกคือชาวเบอร์เบอร์ จากนั้นจึงมีชาวฟินิเชียน ชาวโรมันและชาวอาหรับเข้ามา

จักรวรรดิออตโตมัน[แก้]

แอลจีเรียอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมันในช่วง พ.ศ. 2061 - 2373 จากนั้นจึงตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส

อาณานิคมฝรั่งเศส[แก้]

แม้จะได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมฝรั่งเศสมาก แต่ชาวอาหรับในแอลจีเรียคงทำสงครามแบบกองโจรต่อต้านฝรั่งเศสอย่างต่อเนื่อง จนฝรั่งเศสยอมถอนตัวจากแอลจีเรีย โดยแอลจีเรียได้รับเอกราชเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2505

การประกาศเอกราช[แก้]

อาห์เม็ด เบลล์ เบลลา เป็นผู้นำในช่วง พ.ศ. 2505 - 2508 จากนั้นถูกคณะทหารปฏิวัติ พ.ศ. 2510 แอลจีเรียประกาศสงครามกับอิสราเอล และหันไปผูกมิตรกับสหภาพโซเวียต

สงครามกลางเมือง[แก้]

ปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นเหตุให้ประชาชนก่อการจลาจลเมื่อ พ.ศ. 2531 รัฐบาลปราบปรามด้วยความรุนแรงจนมีผู้เสียชีวิตไป 500 คน พ.ศ. 2532 แอลจีเรียประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้น

การเมืองการปกครอง[แก้]

บริหาร[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลแอลจีเรีย

นิติบัญญัติ[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐสภาแอลจีเรีย

ตุลาการ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กฎหมายแอลจีเรีย

กระบวนการยุติธรรม และ กฎหมาย[แก้]

สถานการณ์การเมือง[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

 
เมืองใหญ่ที่สุดในแอลจีเรีย
ONS estimates for 2008
ที่ เมือง จังหวัด ประชากร (คน)
แอลเจียร์
แอลเจียร์
ออราน
ออราน
1 แอลเจียร์ จังหวัดแอลเจียร์ 4,988,145 คอนสตันติน
คอนสตันติน
เซติฟ
เซติฟ
2 ออราน จังหวัดออราน 1,224,540
3 คอนสตันติน จังหวัดคอนสตันติน 943,112
4 เซติฟ จังหวัดเซติฟ 609,499
5 อันนาบา จังหวัดอันนาบา 317,206
6 บลิดา จังหวัดบลิดา 264,598
7 บัตนา จังหวัดบัตนา 246,379
8 เคลฟ จังหวัดเคลฟ 235,062
9 ตเลมเซน จังหวัดตเลมเซน 221,231
10 ซิดิเบลเอบเบส จังหวัดซิดิเบลเอบเบส 208,498

ความสัมพันธ์ระหวางประเทศ[แก้]

กองทัพ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพประชาชนแอลจีเรีย

กองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

ไฮโดรคาร์บอน[แก้]

ตลาดแรงงาน[แก้]

การท่องเที่ยว[แก้]

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

การศึกษา[แก้]

สาธารณสุข[แก้]

ประชากร[แก้]

Historical populations (in thousands)
ปี ประชากร  ±% p.a.  
1856 2,496—    
1872 2,416−0.20%
1886 3,752+3.19%
1906 4,721+1.16%
1926 5,444+0.72%
1931 5,902+1.63%
1936 6,510+1.98%
1948 7,787+1.50%
1954 8,615+1.70%
1966 12,022+2.82%
1977 16,948+3.17%
1987 23,051+3.12%
1998 29,113+2.15%
2008 34,080+1.59%
Source: (1856–1872)[2] (1886–2008)[3]

เชื้อชาติ[แก้]

ประชากรส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาอาหรับ ชนกลุ่มน้อยที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ชาวเบอร์เบอร์

ภาษา[แก้]

ภาษาในประเทศแอลจีเรีย มีภาษาอาหรับ เป็นภาษาราชการ ภาษาอื่นได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเบอร์เบอร์

ศาสนา[แก้]

Religion in Algeria, 2010 <แอลจีเรียref name="cia" />
Religion Percent
Islam
  
99%
Christianity
  
1%

ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาประจำชาติ มีศาสนาคริสต์และอื่นๆ ในสัดส่วนน้อย

กีฬา[แก้]

ฟุตบอล[แก้]

วอลเลย์บอล[แก้]

มวยสากล[แก้]

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมแอลจีเรีย

วรรณกรรม[แก้]

อาหาร[แก้]

ดนตรี[แก้]

สื่อมวลชน[แก้]

ดูบทความหลักที่: สื่อสารมวลชนในแอลจีเรีย

วันหยุด[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Algeria". World Bank.
  2. Kamel Kateb (2001). Européens, "indigènes" et juifs en Algérie (1830–1962). INED. p. 30. ISBN 978-2-7332-0145-9. สืบค้นเมื่อ 2013-02-14.
  3. "Armature Urbaine" (PDF). V° Recensement Général de la Population et de l'Habitat – 2008. Office National des Statistiques. 2011. p. 82. Unknown parameter |month= ignored (help)
  • ประเทศแอลจีเรีย กระทรวงต่างประเทศ
  • ธนู แก้วโอภาส. ประวัติศาสตร์แอฟริกา. กทม. สุขภาพใจ. 2548

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]