วุฒิสภาในประเทศไทยบ่งบอกถึงสถานที่ที่ใช้สำหรับการออกเสียง การประชุมในนโยบายสำคัญๆของทุกหน่วยรัฐ จำเป็นต้องใช้สถานที่แห่งนี้เพื่อแนะนำ หรือประชุมในเรื่องต่างๆที่สำคัญระดับประเทศ เช่น การเลือกตั้งของพรรคต่างๆ การชี้แนะในเรื่องผลประโยชน์ต่างๆ หรือเป็นจุดรวมตัวของนักการเมือง ที่จะประชุมในเรื่องราวที่กำลังเป็นที่ถกเถียงกันในเรื่องรัฐมนตรี หรือเกี่ยวกับรัฐบาลที่มีมติไม่ไว้วางใจต่อการทำงานของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ซึ่งล้วนแต่เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องระหว่างประเทศ ซึ่งเรียกกันง่ายๆว่า บ้านถาวรของนักการเมือง ที่จะต้องใช้สถานที่นี้ทำการประชุมอยู่บ่อยครั้ง
สถานที่วุฒิสภาสากล
สถานที่ภายในรัฐสภาสากล หรือสถานที่ประชุมของคนทั่วโลก ที่ต้องเข้ามาประชุมเรื่องราวระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจโลก เรื่องน้ำมัน หรือเรื่องราวที่เป็นปัญหาระดับโลก มีผู้เข้ามาประชุม และรับฟังกันอย่างแพร่หลาย
- ประชุมโลก
- การลงคะแนนความคิดเห็น
- เรื่องราวเศรษฐกิจ
อาคารรัฐสภาไทย
โดยเป็นสภาสูงที่สุดในรัฐสภาไทย และคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่างต่อจากสภาไทย เริ่มก่อตั้งขึ้น พ.ศ. 2489 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
- รัฐสภาแห่งแรกของไทย
- เป็นสภาที่มีการประชุมมากที่สุด
ประธานรัฐสภาไทย
เป็นตำแหน่งประมุขของอำนาจ ฝ่ายด้านนิติบัญญัติ ของไทย ซึ่งการทำงานในแต่ละวันจะประกอบด้วย 1 – 2 สภาแล้วแต่บัญญัติของรัฐธรรมนูญในเวลานั้น ซึ่งในสมัยก่อนประธานรัฐสภา มากจาก ประธานผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา
- ประธานสภาจะมีอำนาจสูงสุด
- สามารถยุติสภาก่อนเวลาอันควรได้
หน้าที่สมาชิกรัฐสภา
หน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภา โดยจะยึดถือรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด และจะประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ทั้งสองสภาจะมีประธานสภาเหมือนกัน จะคอยควบคุมและนำเนินกิจการต่างๆของแต่ละสภา
- สามารถออกเสียงได้
- สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ
- แสดงออกควรคำนึงถึงกฎหมายไทยเป็นหลัก
สนช. แจ้งลงมติเอกฉันท์ เปิดร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
สนช. มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ในปี 2557 ด้วยคะแนน 288 และงดออกเสียงการลงคะแนน 3 เสียง
วันที่ 13 มกราคม 2560 การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ว่าด้วยเรื่องการร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมในภายภาคหน้า โดยมีนายพรเพชร วิชิตชลชัย เป็นประธาน สนช. เพื่อเป็นการเปิดทางให้เริ่มกระบวนการแก้ไขแก้ร่างรัฐธรรมนูญในฉบับใหม่
โดยในที่ประชุม นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี กล่าวในการแก้ไขถึง 2 ประเด็น ที่เป็นการแต่งตั้งตัวแทนพระองค์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และเรื่องการให้อำนาจแก่นายกรัฐมนตรี ขอนำร่างรัฐธรรมนูฐฉบับผ่านประชามะติ เพื่อทูลเกล้าฯ ทวายใหม่ภายใน 1 เดือนนับตั้งแต่วันที่ได้รับพระราชทานคืนมา