ประเทศตูนิเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐตูนิเซีย
الجمهورية التونسية (อาหรับ)
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
คำขวัญOrder, Liberty, Justice
เพลงชาติHumaat Al Hima
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
ตูนิส
36°50′N 10°9′E / 36.833°N 10.150°E / 36.833; 10.150
ภาษาราชการ ภาษาอาหรับ[1]
ภาษาที่สอง ภาษาฝรั่งเศส
การปกครอง ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
 -  ประธานาธิบดี เบจี คาอิด เอสเสบซี
 -  นายกรัฐมนตรี ยูซุฟ คาฮิด
เอกราช
 -  จาก ฝรั่งเศส 20 มีนาคม พ.ศ. 2499 
พื้นที่
 -  รวม 163,610 ตร.กม. (92)
63,170 ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) 5.0
ประชากร
 -  ก.ค. 2548 (ประเมิน) 10,102,000 (78)
 -  2537 (สำมะโน) 8,785,711 
 -  ความหนาแน่น 62 คน/ตร.กม. (133*)
161 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
 -  รวม 86.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (63)
 -  ต่อหัว 8,255 ดอลลาร์สหรัฐ (71)
HDI (2558) 0.721 (สูง) (96)
สกุลเงิน ดีนาร์ตูนิเซีย (TND)
เขตเวลา CET (UTC+1)
 •  ฤดูร้อน (DST) CEST (UTC+2)
โดเมนบนสุด .tn
รหัสโทรศัพท์ 216
* อันดับในปี 2548

ตูนิเซีย (อังกฤษ: Tunisia; อาหรับ: تونس‎‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (อังกฤษ: Tunisian Republic; อาหรับ: الجمهورية التونسية‎) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม"

ภูมิศาสตร์[แก้]

ประวัติศาสตร์[แก้]

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์ตูนิเซีย

การเมืองการปกครอง[แก้]

รัฐบาล[แก้]

การบังคับใช้กฎหมาย[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตการปกครองของตูนิเซีย

ตูนิเซีย แบ่งเขตการปกครองทั้งหมด 24 จังหวัด ดังนี้:

  1. อาเรียนา
  2. เบจา
  3. เบนอะรอส
  4. บิเซิร์ท
  5. แกบส์
  6. แกฟซา
  7. เจนดับบา
  8. เครูแอน
  9. คาสเซอร์ไรน์
  10. คาบิลิ
  11. เคฟ
  12. มาห์เดีย
  1. มาโนอูบา
  2. เมเดไนน์
  3. โมนาสเทียร์
  4. นาเบิล
  5. สแฟกซ์
  6. ซิดิเบาซิด
  7. ซิเลียนา
  8. เซาส์
  9. ทาเทาไอน์
  10. โทเซอร์
  11. ตูนิส
  12. ซากูแอน


ความสันพันธ์ระหว่างประเทศ[แก้]

ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย[แก้]

ด้านการทูต[แก้]

การค้าและเศรษฐกิจ[แก้]

การท่องเที่ยว[แก้]

กองทัพ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพตูนิเซีย

กองทัพบก[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพบกตูนิเซีย

กองทัพอากาศ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพอากาศ ตูนิเซีย

กองทัพเรือ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพเรือตูนิเซีย

กองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]

การคมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

การศึกษา[แก้]

สาธารณสุข[แก้]

ประชากรศาสตร์[แก้]

ศาสนา[แก้]

ภาษา[แก้]

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมตูนิเซีย

อาหาร[แก้]

ดนตรี[แก้]

กีฬา[แก้]

วันหยุด[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. (อาหรับ) "Article 1", Tunisia Constitution, 1957-07-25, สืบค้นเมื่อ 2009-12-23  Translation by the University of Bern: Tunisia is a free State, independent and sovereign; its religion is the Islam, its language is Arabic, and its form is the Republic.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]