ประเทศไซปรัส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐไซปรัส
Κυπριακή Δημοκρατία (กรีก)
Kıbrıs Cumhuriyeti (ตุรกี)
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
เพลงชาติὝμνος εἰς τὴν Ἐλευθερίαν
Imnos is tin Eleftherian
"เพลงสรรเสริญแด่เสรีภาพ"

สถานที่ตั้งของไซปรัส (สีเขียวเข้ม)และไซปรัสเหนือ (สีเขียวสว่าง)ประเทศที่อยู่ในกลุ่มสหภาพยุโรป (สีเขียวอ่อน)
สถานที่ตั้งของไซปรัส (สีเขียวเข้ม)
และไซปรัสเหนือ (สีเขียวสว่าง)
ประเทศที่อยู่ในกลุ่มสหภาพยุโรป (สีเขียวอ่อน)
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
นิโคเซีย
35°10′N 33°22′E / 35.167°N 33.367°E / 35.167; 33.367
ภาษาราชการ ภาษากรีก และ ภาษาตุรกี
การปกครอง ประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี
 -  ประธานาธิบดี นีโกส อานัสตาซีอาดิส
เอกราช จาก สหราชอาณาจักร 
 -  วันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1960 
เข้าร่วมสหภาพยุโรป 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
พื้นที่
 -  รวม 9,251 ตร.กม. (167)
3,572 ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) 9
ประชากร
 -  2554 (ประเมิน) 1,117,000[1] 
 -  2554 (สำมะโน) 838,897[2] 
 -  ความหนาแน่น 90.7 คน/ตร.กม. (105)
233 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2556 (ประมาณ)
 -  รวม 23.613 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[3] 
 -  ต่อหัว 27,085 ดอลลาร์สหรัฐ[3] 
HDI (2556) Steady 0.845 (สูงมาก) (32)
สกุลเงิน ยูโร (CYP)
เขตเวลา EET (UTC+2)
 •  ฤดูร้อน (DST) EEST (UTC+3)
ระบบจราจร ซ้ายมือ
โดเมนบนสุด .cy
รหัสโทรศัพท์ 357
1. ทั้งเกาะไม่มีเพลงชาติของตนเอง สาธารณรัฐไซปรัสใช้เพลงชาติกรีก ส่วนไซปรัสเหนือใช้เพลงชาติตุรกี

2. ไซปรัสเหนือมีประธานาธิบดีแยกต่างหาก
3. ไม่เป็นที่ยอมรับของประเทศตุรกี ซึ่งยอมรับ ไซปรัสเหนือแทน
4. แบ่งเป็นไซปรัส (ส่วนใต้) 5,895 กม.² และไซปรัสเหนือ (ส่วนเหนือ) 3,355 กม.²
5. ไม่รวม 323,657 คนในไซปรัสเหนือ
6. ไม่รวมชาวไซปรัสเหนือ

7. ไซปรัสเหนือใช้รหัส +90-392

ไซปรัส (อังกฤษ: Cyprus; กรีก: Κύπρος คีโปรส; ตุรกี: Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (อังกฤษ: Republic of Cyprus; กรีก: Κυπριακή Δημοκρατία; ตุรกี: Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี

ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961

ประวัติศาสตร์[แก้ไขต้นฉบับ]

เศรษฐกิจ[แก้ไขต้นฉบับ]

เศรษฐกิจของประเทศไซปรัสมีความหลากหลายและมีอัตราการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดตามประมาณการของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ(IMF) ประมาณการไว้ว่า จีดีพีต่อหัวของไซปรัสน่าจะอยู่ที่ประมาณ 28,381 ดอลลาร์สหรัฐ/คน/ปี ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มสหภาพยุโรป

นโยบายสำคัญของรัฐบาลไซปรัส คือ ทำให้ประเทศไซปรัสเป็นฐานสำหรับทำธุรกิจของชาวต่างชาติ และ พยายามผลักดันให้ไซปรัสเข้าเป็นหนึ่งในกลุ่มสหภาพยุโรปให้ได้ และได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้ไขต้นฉบับ]

ประเทศไซปรัสแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขต ได้แก่[4]

แผนที่แสดงการแบ่งเขตการปกครอง/ชื่อเขต
เขตแฟมากุสตา
เขตคีรีเนีย
เขตลาร์นากา
เขตลีมาซอล
เขตนิโคเซีย
เขตแพฟอส
 
    
เมืองใหญ่ที่สุดในไซปรัส
geonames.org
ที่ เมือง เขต ประชากร (คน)
นิโคเซีย
นิโคเซีย
ลีมาซอล
ลีมาซอล
1 นิโคเซีย เขตนิโคเซีย 239,277 ลาร์นากา
ลาร์นากา
แฟมากุสตา
แฟมากุสตา
2 ลีมาซอล เขตลีมาซอล 183,656
3 ลาร์นากา เขตลาร์นากา 143,367
4 แฟมากุสตา เขตแฟมากุสตา 42,526
5 แพฟอส เขตแพฟอส 32,754
6 คีรีเนีย เขตคีรีเนีย 26,701
7 โพรทาราส เขตแฟมากุสตา 20,230
8 มอร์เพา เขตนิโคเซีย 14,833
9 อะราดิบเปา เขตลาร์นากา 13,349
10 ปาราลิมนิ เขตแฟมากุสตา

นโยบายต่างประเทศ[แก้ไขต้นฉบับ]

ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย[แก้ไขต้นฉบับ]

ความสัมพันธ์ไซปรัส – ไทย
Map indicating location of ไซปรัส and ไทย

ไซปรัส

ไทย

ไทยและไซปรัสได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2523 ปัจจุบัน สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโรม มีเขตอาณาครอบคลุมไซปรัส โดยเอกอัครราชทูตไทยประจำสาธารณรัฐไซปรัส มีถิ่นพำนัก ณ กรุงโรม (อิตาลี) คนปัจจุบันคือ นายสุรพิทย์ กีรติบุตร และมีนายอีเลียส แพนนาอีเดส เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ไทยประจำไซปรัส ส่วนเอกอัครราชทูตไซปรัสประจำประเทศไทยคนปัจจุบัน คือ นาง มาเรีย ไมเคิล โดยมีถิ่นพำนักอยู่ที่กรุงนิวเดลี, ประเทศอินเดีย และนายปณิธิ วสุรัตน์ เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ไซปรัสประจำไทย

ประชากร[แก้ไขต้นฉบับ]

ศาสนา[แก้ไขต้นฉบับ]

ภาษา[แก้ไขต้นฉบับ]

การศึกษา[แก้ไขต้นฉบับ]

ดูเพิ่ม[แก้ไขต้นฉบับ]

อ้างอิง[แก้ไขต้นฉบับ]

  1. United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2011). World Population Prospects: The 2010 Revision, Highlights and Advance Tables (ESA/P/WP.220). New York. p. 80. 
  2. "Statistical Service – Population and Social Conditions – Population Census – Announcements – Preliminary Results of the Census of Population, 2011" (ใน Greek). Statistical Service of the Ministry of Finance of the Republic of Cyprus. 29 December 2011. สืบค้นเมื่อ 29 January 2012. 
  3. 3.0 3.1 "Report for Cyprus". World Economic Outlook Database. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 17 April 2013. 
  4. "EUROPA – The EU at a glance – Maps – Cyprus". Europa (web portal). สืบค้นเมื่อ 27 March 2009. 

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้ไขต้นฉบับ]

รัฐบาล
การท่องเที่ยว
สิ่งพิมพ์อย่างเป็นทางการ

พิกัดภูมิศาสตร์: 35°N 33°E / 35°N 33°E / 35; 33