พ.ศ. 2476
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2476 |
ปฏิทินเกรกอเรียน | 1933 MCMXXXIII |
Ab urbe condita | 2686 |
ปฏิทินอาร์เมเนีย | 1382 ԹՎ ՌՅՁԲ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6683 |
ปฏิทินบาไฮ | 89–90 |
ปฏิทินเบงกาลี | 1340 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2883 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 22 Geo. 5 – 23 Geo. 5 |
พุทธศักราช | 2477 |
ปฏิทินพม่า | 1295 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7441–7442 |
ปฏิทินจีน | 壬申年 (วอกธาตุน้ำ) 4629 หรือ 4569 — ถึง — 癸酉年 (ระกาธาตุน้ำ) 4630 หรือ 4570 |
ปฏิทินคอปติก | 1649–1650 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3099 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1925–1926 |
ปฏิทินฮีบรู | 5693–5694 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1989–1990 |
- ศกสมวัต | 1855–1856 |
- กลียุค | 5034–5035 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11933 |
ปฏิทินอิกโบ | 933–934 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1311–1312 |
ปฏิทินอิสลาม | 1351–1352 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 8 (昭和8年) |
ปฏิทินจูเช | 22 |
ปฏิทินจูเลียน | เกรกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4266 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 22 民國22年 |
พุทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933
(ตามการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2476 เริ่มต้นในวันที่ 1 เมษายน)
ผู้นำ[แก้]
- พระมหากษัตริย์ – พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468–2 มีนาคม พ.ศ. 2477)
- เจ้านครประเทศราช (นครเชียงใหม่) : เจ้าแก้วนวรัฐ (พ.ศ. 2452-2482)
- เจ้านครประเทศราช (นครลำพูน) : เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (พ.ศ. 2454-2486)
- นายกรัฐมนตรี –
- พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475–21 มิถุนายน พ.ศ. 2476)
- พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) (21 มิถุนายน พ.ศ. 2476–16 ธันวาคม พ.ศ. 2481)
สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2476
เหตุการณ์[แก้]
- 21 มีนาคม - วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา ก่อตั้ง บนเนื้อที่ 14 ไร่ 1 งาน กับ 26 ตารางวา ในนามโรงเรียนประถมช่างไม้
- 20 มิถุนายน - รัฐประหารครั้งแรกในประเทศไทย นำโดยพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ยึดอำนาจการปกครองของนายกรัฐมนตรี พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
- 2 กรกฎาคม - ศาลาเฉลิมกรุงเปิดฉายเป็นครั้งแรกและภาพยนตร์เรื่องแรก คือ "เรื่องมหาภัยใต้สมุทร"
- 11 ตุลาคม - กบฏบวรเดช
วันเกิด[แก้]
- 13 มกราคม - เจ้าฟ้าหญิงมารี หลุยส์ เจ้าหญิงแห่งบัลแกเรีย
- 25 มกราคม - คอราซอน อาคีโน ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ (อสัญกรรม 1 สิงหาคม พ.ศ. 2552)
- 22 กุมภาพันธ์ - แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์ พระชายาใน จอมพลเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์
- 3 พฤษภาคม - เจมส์ บราวน์ นักร้องชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 25 ธันวาคม พ.ศ. 2549)
- 15 มิถุนายน - ประจวบ ฤกษ์ยามดี นักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559)
- 25 กรกฎาคม - พิทยา บุณยรัตพันธุ์ นักร้องลูกกรุงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 14 เมษายน พ.ศ. 2553)
- 24 กันยายน - พันธุ์สวลี กิติยากร
- 31 ตุลาคม - นารีมาน ศอดิก สมเด็จพระราชินีแห่งอิยิปต์ (สิ้นพระชนม์ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548)
- 3 พฤศจิกายน - จอห์น แบร์รี นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 30 มกราคม พ.ศ. 2554)
- ไม่ระบุ - หลวงปู่รอด พรหมสาโร
- 23 ธันวาคม - สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ จักรพรรดิแห่งประเทศญี่ปุ่น
วันถึงแก่กรรม[แก้]
- 29 เมษายน – อนาคาริก ธรรมปาละ ชาวอินเดียผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ในประเทศอินเดีย (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407)
- ลิ ชิง หยวน ผู้อายุมากที่สุดในโลก ที่ยังหาสาเหตุไม่ได้ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2220 รวมอายุได้ 256 ปี