นโยบายทางการทหารของอเมริกาสมัยประธานาธิบดีบุช

  1เหตุการณ์ที่ช็อกโลกที่สุดของประเทศสหรัฐอเมริกาหรือที่รู้จักกันดีในชื่อเหตุการณ์ 9/11 เป็นเหตุการณ์ที่ทำให้ประเทศสหรัฐอเมริกานั้นตื่นตัวในการต่อต้านการก่อการร้ายมากขึ้น พร้อมทั้งดำเนินนโยบายต่างประเทศแนวอนุรักษ์นิยมใหม่  (Neo-conservatism) และฝั่งแนวทางพหุภาคีนิยมสำหรับการควบคุมอาวุธที่มีข้อจำกัดและไม่เหมาะสม และยังมองอีกว่า สนธิสัญญาห้ามการทดลองอาวุธนิวเคลียร์โดยสมบรูณ์ (Comprehensive Test Ban Treaty) สนธิสัญญาต่อต้านขีปนาวุธ (Anti-ballistic Missile Treaty) ซึ่งไม่มีประโยชน์ต่อประเทศสหรัฐอเมริกา และยังคัดค้านการจัดตั้งศาลอาชญากรรมระหว่างประเทศอีกด้วย (International Criminal Court) และเหตุที่เป็นสาเหตุของเรื่องก็คือความเชื่อในแนวคิดเรื่อง ศตวรรษอเมริกันยุคใหม่ ซึ่งให้เหตุผลว่าสหรัฐอเมริกามีความจำเป็นจะต้องส่งเสริมระบบการเมืองและเศรษฐกิจระดับโลก นักวิจารณ์ให้เหตุผลว่าสหรัฐอเมริกาไม่ได้เป็นเพียงแต่เจ้าแห่งการครอบงำเท่านั้น แต่ยังเป็นเหมือนจักรวรรดิ ที่ไม่เหมือนใครอีกด้วย โดยถ้าทำตามก็จะปลอดภัยต่อการคุกคาม หากเดินตามอุดมคติของอเมริกา โดยอย่างไรก็ตาม ในทัศนะของชอมสกี้ เห็นว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นเจ้าโลกเจ้ารุกรานอีกทั้งยังไรความปรานี ซึ่งเป็นเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจของโลกที่จะสร้างความปลอดภัยให้กับทุกประเทศในโลก แต่สำหรับคนหลายเชื้อชาติของสหรัฐอเมริกาก็ยังคงนิยมประชาธิปไตยอื่นๆ ถึงแม่ประเทศเจ้าโลกอย่างสหรัฐอเมริกาจะประกาศอย่างหนักแน่ว่าตัวเองสนับสนุนนโยบายด้านศีลธรรม เช่นประชาธิปไตยและสิทธิของมนุษย์ ซึ่งเป็นหลายๆประเทศก็มองว่าสหรัฐอเมริกาทำไปก็เพราะมีผลประโยชน์ต่อประเทศของตัวเอง อย่างไรก็ตามประเทศสหรัฐอเมริกาก็มีบทบาทต่อทุกประเทศไม่ว่าทางใดทางหนึ่ง…

Read More

ไอเอสท้าทายตำรวจโลกอย่าง USA

ในช่วงเวลาไม่กี่เดือนมานี้ หลายคนจะได้ยินข่าวสื่อประโคมข่าวการต่อสู้ในอีรัก ซีเรีย ซึ่งสื่อตะวันตกก็มักเสนอแต่ข่าวส่วนใหญ่แต่เรื่องของกลุ่ม ไอเอส IS นักรบญีฮัด เพื่อจัดตั้งรัฐอิสลาม ที่ไล่ล่าฆ่ผู้บริสุทธิที่เป็นชนกลุ่มน้อยที่มีทั้งชาวยาซิดี่ ชาวคริสต์ ชาวเคิร์ด อย่างไรปราณี โดยเหตุการณ์ที่ผ่านมาไม่นานสื่อได้เสนอข่าวกลุ่มไอเอสได้ทำการล้อมกรอบชอบเผ่าบางกลุ่มบนภูเขาขู่ว่าพร้อมที่จะสังหารหมู่คนเหล่านั้น ซึ่งนี้ก็เป็นเหตุให้อเมริกาอ้างตัวเป็นตำรวจโลกผู้ผดุงความยุติธรรม เลยส่งเครื่องบินรบไปทิ้งระเบิดเพื่อคัดสิ้นทางของกลุ่มไอเอส โดยอ้างว่าเพื่อป้องกันการสังหารหมู่อีกทั้งยังส่งเสบียงอาหารมาให้เหยื่อผู้เคราะห์ร้าย เมื่อวันอาทิที่ผ่าน ข่าวที่เครื่องบินทิ้งระเบิดของอเมริการวมทั้งเครื่องบนไร้คนขับ ได้ทำการทิ้งระเบิดบริเวณเขตเขื่อนโมซุน ซึ่งอยู่ทางภาคเหนือของอีรักที่มีการอ้างอิงว่ากลุ่ม IS ได้ทำการยึดมาตั้งแต่ต้นปีโดยการทิ้งระเบิดนั้นจำนวน 15 เที่ยวบิน การปฏิบัติการทางอากาศครั้งนี้ อเมริกาได้อ้างว่าทำไปเพื่อเป็นการสนับสนุนกองกำลังเปอร์เมสกาของชาวเคิร์ด และ ทหารอิรักที่กำลังสู้รบ เพื่อเอาที่มั่นที่เคยเป็นของอีรักคือมาจากการครอบครองของกลุ่มไอเอส หลังจากนั้นไม่ได้ ประธานาธิบดีของอเมริกา บารัค โอบามา ออกมาประกาศว่าเป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ที่ทหารเคิร์ดกับทหารอิรักสามารถที่จะยึดเขื่อนคืนมาจาก ไอเอส โดยการสนับสนุนของอเมริกา ถ้าย้อนกลับไปดูเหตุการณ์เก่าๆ สหรัฐเป็นประเทศที่สร้างความเจ็บปวดให้กับอีรักถึงสองครั้ง ครั้งแรกในปี 2533 โดยอ้างว่าช่วยเหลือคูเวตที่ถูกอีรักรุกราน ครั้งที่สองในปี 2546 โดยกล่าวหาว่าอิรักซุกซ่อนอาวุธนิวเคลียร์และทำการรุกรานอีรักจนถึงปี 2554…

Read More

อิรักฮึกเหิมสหรัฐพร้อมทำสงคราม

จากเหตุการณ์ที่ผ่านมาในอดีต ปี พ.ศ.2533 อิรักได้เข้ายึดครองประเทศคูเวต ซึ่งสหรัฐอเมริกาโกรธมากและได้นำกำลังของฝ่ายพันธมิตร เข้าจู่โจมและผลักดันทหารของอิรักกลับประเทศ จนนำมาซึ่งสงครามอ่าวครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2534 หลังจากที่อิรักแพ้สงครามในครั้งนี้ คณะความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ประชุมหาลืมกันและสมควรใช้มาตรการ คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจแก่อิรัก พร้อมให้อิรักทำลายอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีอำนาจในการทำลายสูงและขีปนาวุธโจมตีระยะไกลทิ้ง ไม่ให้พัฒนาหรือแสวงหาอาวุธใหม่ จัดตั้งพื้นที่เขตปลอดทหารและจัดเตรียมคนจากสหประชาชาติไปตรวจสอบอาวุธร้ายแรงของอิรักว่ายังมีเหลือหรือกำลังผลิตอยู่หรือไม่ ในระยะเวลา 12 ปีที่ใช้มาตรการค่ำบาตร แต่อิรักก็ไม่ทำตามคำสั่งมากเท่าไหร่ ชอบทำอะไรตามใจและละเมิดมติสหประชาชาติมาโดยตลอด สหรัฐอเมริกาจึงคิดว่าควรจะใช้มาตรการอื่นทน เพราะมาตรการคว่ำบาตร ทางเศรษฐกิจใช้ไม่ได้ผลกับอิรักแน่นอน ในเรื่องของการตรวจสอบอาวุธก็เหมือนกัน อิรักได้ซ่อนโรงงานที่ผลิตนิวเคลียร์และขีปนาวุธไว้อีกด้วย คณะตรวจสอบไม่สามารถเข้าถึงหลักฐานการสร้างอาวุธนิวเคลียร์ของอิรักได้เลย ทำให้ประเทศอิรัก สามารถพัฒนาขีดความสามารถของอาวุธได้อย่างสูงที่สุด มีอาวุธนิวเคลียร์และระเบิดเคมีชีวภาพ อิรักก็ยังไม่ยอมละความพยายามที่จะต่อสู้กับสหรัฐเลยแม้สักครั้ง ต่อมา เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ได้การก่อเหตุวินาศกรรมขึ้น โดยมีเครื่องบินตกลงมาใส่อาคาร เวิร์ลเทรดเซ็นเตอร์ และอาคารเพนทากอน ที่ตั้งของกห. สหรัฐอเมริกา สหรัฐทำสงครามกับประเทศที่ให้การสนับสนุนกับผู้ก่อการร้าย โดยเริ่มปฏิบัติการค้นหาจากประเทศอัฟกานิสถาน แม้จะล้มล้างระบบของตาลีบันสำเร็จ แต่ก็ยังจับแกนนำคนสำคัญอยู่ก็คือ นายโอซามา บินลาดิน ทำให้สหรัฐมุ่งประเด็นการสนับสนุนผู้ก่อการร้ายไปที่อื่น โดยขั้นต้นเพิ่งเล็งประเทศอิรักมาอันดับ 1 และประเทศอื่นๆก็คือ อิหร่าน…

Read More